\documentclass[10pt,xcolor={dvipsnames}]{beamer}
\usetheme[
%%% option passed to the outer theme
% progressstyle=fixedCircCnt, % fixedCircCnt, movingCircCnt (moving is deault)
]{Feather}
% If you want to change the colors of the various elements in the theme, edit and uncomment the following lines
% Change the bar colors:
\setbeamercolor{Feather}{fg=NavyBlue!20,bg=NavyBlue}
% Change the color of the structural elements:
\setbeamercolor{structure}{fg=NavyBlue}
% Change the frame title text color:
\setbeamercolor{frametitle}{fg=black!5}
% Change the normal text colors:
\setbeamercolor{normal text}{fg=black!75,bg=gray!5}
%% Change the block title colors
\setbeamercolor{block title}{use=Feather,bg=Feather.fg, fg=black!90}
% Change the logo in the upper right circle:
%\renewcommand{\logofile}{example-grid-100x100pt}
%% This is an image that comes with the LaTeX installation
% Adjust scale of the logo w.r.t. the circle; default is 0.875
% \renewcommand{\logoscale}{0.55}
% Change the background image on the title and final page.
% It stretches to fill the entire frame!
% \renewcommand{\backgroundfile}{example-grid-100x100pt}
%-------------------------------------------------------
% INCLUDE PACKAGES
%-------------------------------------------------------
%\usepackage[utf8]{inputenc}
%\usepackage[english]{babel}
%\usepackage[T1]{fontenc}
% \usepackage{helvet}
%% Load different font packages to use different fonts
%% e.g. using Linux Libertine, Linux Biolinum and Inconsolata
% \usepackage{libertine}
% \usepackage{zi4}
%------------ สำหรับการใช้ฟ้อนท์ภาษาไทย -----------%
\usepackage[no-math]{fontspec}
\usepackage{xunicode}
\usepackage{xltxtra}
\usepackage{polyglossia}
%% e.g. using fonts Carlito and Caladea
\usepackage{carlito}
\usepackage{caladea}
\usepackage{zi4}
\setdefaultlanguage{english}
\setotherlanguage{thai}
\defaultfontfeatures{Mapping=tex-text} % so that the quotation marks display correctly
\newfontfamily{\thaifont}[Scale=MatchLowercase,Mapping=tex-text,Script=Thai]{THSarabunNew_Bold.ttf}
%\newfontfamily{\thaifont}[Mapping=tex-text,Script=Thai]{Noto Serif Thai}
\usepackage[Latin,Thai]{ucharclasses}
\setTransitionTo{Thai}{\thaifont}
\setTransitionFrom{Thai}{\normalfont}
% % % % % % % % % % % % % % % % %
% คำสั่งสำหรับตัดคำ
\XeTeXlinebreaklocale "th_TH"
\XeTeXlinebreakskip=0pt plus 1pt
% % % % % % % % % % % % % %
%% e.g. using Venturis ADF Serif and Sans
% \usepackage{venturis}
%-------------------------------------------------------
% DEFFINING AND REDEFINING COMMANDS
%-------------------------------------------------------
% colored hyperlinks
\newcommand{\chref}[2]{
\href{#1}{{\usebeamercolor[bg]{Feather}#2}}
}
%-------------------------------------------------------
% INFORMATION IN THE TITLE PAGE
%-------------------------------------------------------
\title[] % [] is optional - is placed on the bottom of the sidebar on every slide
{ % is placed on the title page
\textbf{บีมเมอร์ธีมขนนก Feather}
}
\subtitle[บีมเมอร์ธีมขนนก Feather]
{
\textbf{v. 1.1.0}
}
\author[Lilyana Vankova, LianTze Lim, B. Intiyot]
{ Lilyana Vankova \\
{\ttfamily lilqna.v@gmail.com}\\[1em]
with v1.1 modifications by LianTze Lim (Overleaf)\\
with Thai translation by B.Intiyot
}
\institute[]
{%
คณะคณิตศาสตร์, สนเทศศาสตร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ\\
มหาวิทยาลัย Plovdiv ``Paisii Hilendarski''
}
\date{\today}
%-------------------------------------------------------
% THE BODY OF THE PRESENTATION
%-------------------------------------------------------
\begin{document}
%-------------------------------------------------------
% THE TITLEPAGE
%-------------------------------------------------------
{\1% % this is the name of the PDF file for the background
\begin{frame}[plain,noframenumbering] % the plain option removes the header from the title page, noframenumbering removes the numbering of this frame only
\titlepage % call the title page information from above
\end{frame}}
\begin{frame}{เนื้อหา}{}
\tableofcontents
\end{frame}
%-------------------------------------------------------
\section{บทนำ}
%-------------------------------------------------------
\subsection{ใบอนุญาต}
\begin{frame}{บทนำ}{ใบอนุญาต}
%-------------------------------------------------------
\begin{itemize}
\item<1-> รูปขนนก Feather ไม่อยู่ภายใต้กฏ copyright ฉันใช้รูปจาก \chref{http://www.vectors-free.com/}{http://www.vectors-free.com/} คุณสามารถใช้รูปขนนก Feather สำหรับวัตถุประสงค์อะไรก็ได้
\item<2-> ส่วนอื่น ๆ ของธีมอยู่ภายใต้ใบอนุญาต GNU General Public License v. 3 (GPLv3) \chref{http://www.gnu.org/licenses/}{http://www.gnu.org/licenses/} นี่หมายความว่าคุณสามารถที่จะแจกจ่าย และ/หรือแก้ไขมันภายใต้ใบอนุญาตเดียวกัน
\end{itemize}
\end{frame}
%-------------------------------------------------------
\section{การติดตั้ง}
%-------------------------------------------------------
\subsection{ไฟล์ต้นกำเนิด}
\begin{frame}{การติดตั้ง}{ไฟล์ต้นกำเนิด}
%-------------------------------------------------------
\begin{block}{}
ธีมนี้มีไฟล์ต้นกำเนิด 4 ไฟล์คือ
\begin{itemize}
\item {\tt beamercolorthemeFeather.sty}
\item {\tt beamerouterthemeFeather.sty}
\item {\tt beamerinnerthemeFeather.sty}
\item {\tt beamerthemeFeather.sty}
\end{itemize}
\end{block}
\end{frame}
%-------------------------------------------------------
\subsection{การติดตั้งแบบเฉพาะที่และแบบครอบคลุม}
\begin{frame}[shrink]{การติดตั้ง}{การติดตั้งแบบเฉพาะที่และแบบครอบคลุม}
%-------------------------------------------------------
ธีมนี้สามารถติดตั้งสำหรับการใช้ \textbf{แบบเฉพาะที่} หรือ \textbf{แบบครอบคลุม} ได้
\pause
\begin{block}{การติดตั้งแบบเฉพาะที่}
\begin{itemize}
\item การติดตั้งแบบเฉพาะที่ เป็นวิธีที่ง่ายที่สุดในการติดตั้งธีมนี้
\item คุณต้องเอาไฟล์ต้นกำเนิดทั้ง 4 ไฟล์ไว้ในโฟล์เดอร์เดียวกับไฟล์นำเสนอของคุณ เมื่อคุณดาวน์โหลดธีมนี้ ทั้ง 4 ไฟล์จะอยู่ในโฟล์เดอร์ชื่อ {\tt local}
\end{itemize}
\end{block}
\pause
\begin{block}{การติดตั้งแบบครอบคลุม}
\begin{itemize}
\item ถ้าคุณอยากจะทำให้ธีมนี้ใช้ได้แบบครอบคลุม คุณต้องเอาไฟล์ต้นกำเนิดใส่ไว้ในต้นไม้ไดเร็คทอรี่ของ latex บนเครื่องของคุณ ตำแหน่งที่ตั้งของของ root ของต้นไม้ไดเร็คทอรี่ของ latex บนเครื่องของคุณ จะขึ้นอยู่กับระบบปฎิบัติการและ latex distribution ที่คุณใช้
\item รายละเอียดเกี่ยวกับการติดตั้งภายใต้ระบบปฎิบัติการแบบต่าง ๆ สามารถอ่านได้จากเอกสารของ Beamer
\end{itemize}
\end{block}
\end{frame}
%-------------------------------------------------------
\subsection{แพ็คเก็จที่ต้องมี}
\begin{frame}{การติดตั้ง}{แพ็คเก็จที่ต้องมี}
%-------------------------------------------------------
ในการใช้ธีม Feather คุณจะต้องมี Bemaer class ติดตั้งไว้อยู่แล้ว และต้องมีแพ็คเก็จ 2 แพ็คเก็จ ต่อไปนี้
\begin{itemize}
\item TikZ\footnote{TikZ เป็นแพ็คเก็จสำหรับใช้สร้างกราฟฟิกส์ที่สวยงาม ลองดู\chref{http://www.texample.net/tikz/examples/}{ตัวอย่างออนไลน์เหล่านี้} หรือ \chref{http://tug.ctan.org/tex-archive/graphics/pgf/base/doc/generic/pgf/pgfmanual.pdf}{คู่มือการใช้ pgf}}
\item calc
\end{itemize}
เนื่องจากว่าแพ็คเก็จเหล่านี้เป็นที่ใช้กันแพร่หลาย พวกมันน่าจะมากับ latex distribution ที่คุณใช้ตั้งแต่แรกแล้ว
\end{frame}
%-------------------------------------------------------
\section{ส่วนต่อประสานผู้ใช้}
\subsection{การเรียกใช้ธีมและตัวเลือกของธีม}
\begin{frame}[shrink]{ส่วนต่อประสานผู้ใช้}{การเรียกใช้ธีมและตัวเลือกของธีม}
%-------------------------------------------------------
\begin{block}{ธีมการนำเสนอ}
ธีม Feather สามารถเรียกใช้งานในแบบที่เป็นที่คุ้นเคยอยู่แล้ว โดยในส่วน preamble ของไฟล์ {\tt tex} คุณต้องพิมพ์ \\ \vspace{5pt}
{\tt \textbackslash usetheme[<options>]\{Feather\}}\\ \vspace{5pt}
ธีมการนำเสนอ จะเรียกไฟล์ธีม Feather ชั้นใน ชั้นนอก และสี และส่งต่อ {\tt <options>} ไปยังไฟล์เหล่านั้น
\end{block}
\begin{block}{ธีมชั้นในและชั้นนอก}
คุณสามารถเรียกใช้แต่ธีมชั้นในหรือชั้นนอกเท่านั้นได้โดยตรง โดยพิมพ์ \\ \vspace{5pt}
{\tt \textbackslash useinnertheme\{Feather\}} (และไม่มีตัวเลือก options)\\ \vspace{5pt}
{\tt \textbackslash useoutertheme[<options>]\{Feather\}} (ซึ่งมีหนึ่งตัวเลือก option คือ)\\
\hspace{20pt}{\tt progressstyle=\{fixedCircCnt หรือ } {\tt movingCircCnt\}} \\
\begin{itemize}
\item ซึ่งเป็นการตั้งว่าจะให้ความก้าวหน้า progress แสดงอย่างไร
\item ค่า {\tt movingCircCnt} เป็นค่าปริยาย
\end{itemize}
\end{block}
\end{frame}
\begin{frame}[shrink]{ส่วนต่อประสานผู้ใช้}{การเรียกใช้ธีมและตัวเลือกของธีม}
\begin{block}{ธีมสี}
นอกจากนี้ คุณสามารถเรียกใช้แต่ธีมสีเท่านั้น โดยเขียนใน preamble ของไฟล์ {\tt tex} ดังนี้
\vspace{5pt}
\begin{itemize}
\item {\tt \textbackslash usecolortheme\{Feather\}}
\end{itemize}
\vspace{5pt}
...หรือจะเปลี่ยนสีขององค์ประกอบต่าง ๆ ในธีม
\vspace{5pt}
\begin{itemize}
\item เปลี่ยนสีของแถบ: \\
{\tt \textbackslash setbeamercolor \{Feather\}\{fg=<color>, bg=<color>\}}
\vspace{2pt}
\item เปลี่ยนสีขององค์ประกอบที่เป็นโครงสร้าง: \\
{\tt \textbackslash setbeamercolor\{structure\}\{fg=<color>\}}
\vspace{2pt}
\item เปลี่ยนสีของตัวอักษรที่เป็นชื่อหรือหัวข้อของเฟรม:\\
{\tt \textbackslash setbeamercolor\{frametitle\}\{fg=<color>\}}
\vspace{2pt}
\item เปลี่ยนสีพี้นหลังของตัวอักษรปรกติ:
{\tt \textbackslash setbeamercolor\{normal text\}\{fg=<color>, bg=<color>\}}
\end{itemize}
\end{block}
\end{frame}
%-------------------------------------------------------
\subsection{รูปขนนก Feather}
\begin{frame}{ส่วนต่อประสานผู้ใช้}{พี้นหลังรูปขนนก Feather}
%-------------------------------------------------------
\begin{block}{พี้นหลังรูปขนนก Feather}
\begin{itemize}
\item ในธีม Feather เฟรมหน้าชื่อเรื่อง และ เฟรมหน้าสุดท้าย จะมีรูปขนนก Feather เป็นพื้นหลัง
\item คุณสามารถใส่พี้นหลังรูปขนนก Feather ในเฟรมไหนก็ได้โดยการเขียนสิ่งต่อไปนี้ตอนเริ่มต้นของเฟรม
\end{itemize}
\vspace{5pt}
{\tt \{\textbackslash 1bg\\
\textbackslash begin\{frame\}[<options>]\{Frame Title\}\{Frame Subtitle\}\\
\ldots\\
\textbackslash end\{frame\}\}}
\end{block}
\end{frame}
{\1
\begin{frame}[plain,noframenumbering]
\finalpage{ขอบคุุณที่ใช้บีมเมอร์ธีมขนนก Feather!}
\end{frame}}
\end{document}